การนำควารู้ที่เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ประโยชน์

ไฟฟ้าสถิต ปี57ใบความรู้.01

ประจุไฟฟ้า และแรงระหว่างประจุ

ประจุไฟฟ้า  ( Electric charge )

ทาลีส นักปราชญ์ชาวกรีก ได้พบว่าถ้านำเอาแท่งอำพันมาถูกับผ้าขนสัตว์แล้ว แท่งอำพันนั้นจะสามารถดูดวัตถุเบาๆได้ อำนาจที่เกิดขึ้นนี้ถูกเรียกว่า ไฟฟ้า  ต่อมาพบว่ามีวัตถุบางชนิดเช่นพลาสติก เมื่อนำมาถูกับผ้าสักหลาดจะสามารถดึงดูดวัตถุเบาๆได้ และแรงดึงดูดนี้ไม่ใช่แรงดึงดูดระหว่างมวลเพราะจะเกิดขึ้นภายหลังที่มีการนำวัตถุดังกล่าวมาถูกันเท่านั้น และเรียกว่าสิ่งที่ทำให้เกิดแรงนี้คือ ประจุไฟฟ้า หรือเรียกสั้นๆว่า ประจุ
1. ประจุไฟฟ้า_PDF
2. แบบฝึกหัด เรื่อง แรงระหว่างประจุ                                                                                            3. เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง แรงระหว่างประจุ                                                                        4. เฉลยใบงาน _ แบบฝึกเสริมประสบการณ์ 1(ประจุไฟฟ้า)                                        5. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ประจุไฟฟ้าและสนามไฟฟ้า(หน้า 1-30)                            6. เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 1 (ประจุไฟฟ้า)_2                                                         7.ฉ 6                                                                                                                                               8.ฉ 7

สนามไฟฟ้า

การนำประจุไฟฟ้าไปวางไว้ ณ ตำแหน่งต่างๆกันในบริเวณรอบๆอีกประจุหนึ่ง จะพบว่ามีแรงไฟฟ้ากระทำต่อประจุที่นำไปวางเสมอ ในกรณีเช่นนี้เรากล่าวว่ามี สนามไฟฟ้า  เรียกประจุที่นำไปวางนั้นว่า ประจุทดสอบสนามไฟฟ้า_PDF

สนามไฟฟ้า ( Electric field )

ใบความรู้ เรื่อง สนามไฟฟ้า

สนามไฟฟ้า_2
แบบฝึกหัด เรื่อง สนามไฟฟ้า
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง สนามไฟฟ้า
แบบทดสอบหลังเรียนผลการเรียนรู้ที่ 2 ตอนที่ 1
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนผลการเรียนรู้ที่ 2 ตอนที่ 1
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนผลการเรียนรู้ที่ 2 ตอนที่ 2

ศักย์ไฟฟ้า

<strong>ศักย์ไฟฟ้า  ( Electric  potential )

จากการศึกษาเรื่องพลังงานศักย์โน้มถ่วง เมื่อวัตถุอยู่ในสนามโน้มถ่วงก็จะมีพลังงานกระทำต่อวัตถุนั้น สังเกตได้จากวัตถุนั้นจะตกลงสู่จุดอ้างอิงเสมอ ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก โดยจุดอ้างอิงนั้นจะมีพลังงานต่ำกว่า เราเรียกพลังงานนี้ว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วง
ใบความรู้
แบบฝึกหัดหลังเรียนผลการเรียนรู้ที่ 3
ศักย์ไฟฟ้า (PowerPoint)
แบบฝึกหัดหลังเรียนผลการเรียนรู้ที่ 3 ตอนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหักหลังเรียนผลการเรียนรู้ที่ 3 ตอนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหลังเรียนผลการเรียนรู้ที่ 3

ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า

strong>ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า  (  Capacitor and Capacitance )

ในวงจรไฟฟ้าบางวงจรจะมีการใช้ตัวนำทำหน้าที่ในการเก็บประจุ เรียกตัวนำที่ทำหน้าที่นี้ว่า ตัวเก็บประจุ ( capacitor หรือ condenser ) ซึ่งได้มีการออกแบบตัวเก็บประจุให้มีรูปทรงแตกต่างกันไป ทั้งยังมีความสามารถในการเก็บประจุมากน้อยต่างกันไปอีกด้วย

ใบความรู้ เรื่อง ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า PDF
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า                                                                                                                                                                                   เฉลยแบบฝึกทักษะตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า                                                                                                                                                      แบบฝึกทักษะตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า

กฎของโอห์มและกฎของเคอร์ชอฟฟ์

กฎของโอห์ม  ( Ohm of Law )

George  Simon  Ohm  นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน พบว่าเมื่อทำให้ปลายทั้งสองของลวดโลหะมีความต่างศักย์ไฟฟ้า  จะมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดโลหะนี้ ซึ่งจากการทดลองจะได้ความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า อ่านต่อ >>> กฎของโอห์ม